เพียรรัตน์ ลีลาพงศธร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์

เพียรรัตน์ ลีลาพงศธร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
ข้อมูลส่วนตัว
- อาจารย์ประจำศูนย์กฎหมายอาญาและอาชญาวิทยา
การศึกษา
- นิติศาสตรมหาบัณฑิต (สาขากฎหมายอาญา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- นิติศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับสอง) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- ประกาศนียบัตรวิชาว่าความ รุ่นที่ 37 สำนักฝึกอบรมวิชาว่าความ สภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์
หัวข้อ
วิทยานิพนธ์
- อาชญากรรมต่อมนุษยชาติกับฐานความผิดในกฎหมายอาญาไทย (นิติศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์)
ประสบการณ์
การทำงาน
- พ.ศ. 2561 : อาจารย์ประจำ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ปัจจุบัน)
- พ.ศ. 2560 : อาจารย์ประจำ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่น
- พ.ศ. 2556 : ทนายความ สำนักกฎหมาย เดชอุดม แอนด์ แอสโซซิเอทส์
สาขาที่สนใจ
- กฎหมายอาญาภาคทั่วไปและภาคความผิด
- กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
- กฎหมายอาญาระหว่างประเทศ
หลักสูตร
ที่สอน
- น.160 การเขียนในเชิงกฎหมาย 1
- น.100 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายและระบบกฎหมาย (สัมมนา)
- น.110 / 210 กฎหมายอาญา ภาคทั่วไป
- น.111 / 211 กฎหมายอาญา ภาคความผิด
- น.316 สัมมนากฎหมายอาญา
- น.317 กฎหมายเกี่ยวกับคดีเด็กและเยาวชน
- น.380 / 381 กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (สัมมนา)
- TU122 Law in Everyday Life (B.E. International Program)
- PD201 Principles of Law for Social Justice (Pridi Banomyong International College (PBIC))
ผลงาน
ทางวิชาการ
- ผู้วิจัย เรื่อง “การพิจารณาคดีอาญาโดยไม่ปรากฏตัวจำเลย (Trial in absentia)” เสนอต่อ คณะกรรมการส่งเสริมงานวิจัย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (2563)
- ผู้ช่วยวิจัย เรื่อง “โครงการจัดหมวดหมู่อาชญากรรมในกฎหมายไทยเข้ากับหมวดหมู่ตามมาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยการจำแนกประเภทอาชญากรรมเพื่อประโยชน์ทางสถิติ ระยะที่ 3” เสนอต่อ สถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (2563)
- ผู้ประสานโครงการวิจัย เรื่อง “โครงการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 และที่แก้ไขเพิ่มเติม” เสนอต่อ กองต่อต้านการค้ามนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (2562)
รางวัล
- รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น สาขากฎหมายอาญา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในหัวข้อเรื่อง “อาชญากรรมต่อมนุษยชาติกับฐานความผิดในกฎหมายอาญาไทย”
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 การประกวดบทความทางวิชาการ หนังสือรพี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2559 ในหัวข้อเรื่อง “ปัญหาและการบังคับใช้กฎหมายอาญาในความผิดฐานก่อการร้าย” (ไม่มีผู้ได้รับรางวัลชนะเลิศ)