ธนภัทร ชาตินักรบ
อาจารย์ ดร.

ธนภัทร ชาตินักรบ
อาจารย์ ดร.
ข้อมูลส่วนตัว
อาจารย์ ดร.ธนภัทร ชาตินักรบ เป็นผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ ผู้อำนวยการโครงการนิติศาสตร์ภาคบัณฑิต ท่าพระจันทร์ และอาจารย์ประจำศูนย์กฎหมายระหว่างประเทศและศูนย์กฎหมายแพ่ง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สำเร็จการศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต และนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายระหว่างประเทศ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นิติศาสตรมหาบัณฑิต (LLM) สาขากฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง จากมหาวิทยาลัยลอนดอน (ควีนแมรี่) สหราชอาณาจักร และปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (PhD) สาขากฎหมายระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ สหราชอาณาจักร โดยมีหัวข้อวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเรื่อง “The Use of Practice in Treaty Interpretation” ในระหว่างที่ศึกษาอยู่ ณ มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ได้รับทุน PhD School of Law Scholarship (PhD School of Social Sciences Scholarship) จากโรงเรียนกฎหมาย มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ผลงานวิชาการที่อาจารย์ ดร.ธนภัทร ตีพิมพ์ประกอบด้วยบทความต่าง ๆ ทางด้านกฎหมายระหว่างประเทศ โดยเฉพาะหัวข้อเกี่ยวกับการตีความสนธิสัญญา นอกจากนั้น ยังเป็นสมาชิกของเครือข่ายนักวิจัยรุ่นใหม่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (LSE-Southeast Asia Early Career Researcher Network) ศูนย์เอเชียแปซิฟิก วิทยาลัยเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งลอนดอน (Saw Swee Hock Southeast Asia Centre, London School of Economics and Political Science)
การศึกษา
- น.บ. ธรรมศาสตร์
- น.ม. (กฎหมายระหว่างประเทศ) ธรรมศาสตร์
- LLM in Public International Law (merit), University of London (Queen Mary) สหราชอาณาจักร
- PhD in International Law, University of Manchester สหราชอาณาจักร
หัวข้อ
วิทยานิพนธ์
- The Use of Practice in Treaty Interpretation (PhD Manchester)
- The Jurisdiction and Admissibility of the ICJ’s Request for Interpretation Judgments: Do We Need Reform? (LLM Queen Mary)
- การตีความสนธิสัญญาแบบวิวัฒนาการ: กรณีศึกษาคำชี้ขาดขององค์กรระงับข้อพิพาทขององค์การการค้าโลกและคณะอนุญาโตตุลาการทางการลงทุนระหว่างประเทศ (นิติศาสตรมหาบัณฑิต ธรรมศาสตร์)
ประสบการณ์
การทำงาน
- ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการและผู้อำนวยการโครงการนิติศาสตร์ภาคบัณฑิต ท่าพระจันทร์ (กรกฎาคม 2565-ปัจจุบัน)
- อาจารย์ประจำ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ธันวาคม 2564-ปัจจุบัน)
- กรรมการจัดการแข่งขันโต้เถียงปัญหาทางกฎหมายโดยการแถลงการณ์ด้วยวาจาในชั้นอุทธรณ์ ระดับประเทศ ครั้งที่ 8 ประจำปีการศึกษา 2564
- กรรมการสภาอาจารย์ (ประเภทผู้แทนส่วนงาน) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (กุมภาพันธ์-กรกฎาคม 2565)
- Max Planck Institute for Comparative Public Law and International Law, Heidelberg, Germany, Research Assistant (Intern), Summer 2018
- นักวิจัยกฎหมายระหว่างประเทศ กองพัฒนางานกฎหมายระหว่างประเทศ กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ (ตุลาคม 2559-พฤษภาคม 2560)
- นักวิจัยกฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (กรกฎาคม 2558-กันยายน 2559)
- ผู้ช่วยกรรมการปฏิรูปกฎหมาย สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (พฤศจิกายน 2557-มิถุนายน 2558)
สาขาที่สนใจ
- กฎหมายระหว่างประเทศ
- กฎหมายสนธิสัญญา
- การใช้การตีความกฎหมาย
- กฎหมายเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
- กฎหมายสหภาพยุโรป
- กฎหมายอาเซียน
- กฎหมายเปรียบเทียบ
- กฎหมายระหว่างประเทศและดิจิทัลเทคโนโลยี
ผลงานทาง
วิชาการ
วิทยานิพนธ์
- The Use of Practice in Treaty Interpretation, PhD Thesis, University of Manchester, 2021
- The Jurisdiction and Admissibility of the ICJ’s Request for Interpretation Judgments: Do We Need Reform?, LLM Dissertation, University of London (Queen Mary), 2018
- การตีความสนธิสัญญาแบบวิวัฒนาการ: กรณีศึกษาคำชี้ขาดขององค์กรระงับข้อพิพาทขององค์การการค้าโลกและคณะอนุญาโตตุลาการทางการลงทุนระหว่างประเทศ, วิทยานิพนธ์ นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2557
บทในหนังสือ
- Thanapat Chatinakrob, Happiness-sharing Pantries: an effective weapon to ease hunger for the needy during the pandemic in Thailand in Southeast Asia and COVID-19 in Hyun Bang Shin, Murray Mckenzie and Do Young Oh (eds), Southeast Asia: Insights for a post-pandemic world (LSE Press), 249-256 (2022).
บทความ
- ธนภัทร ชาตินักรบ, ‘ปัญหาการตีความอย่างเป็นเอกภาพ (Uniform Interpretation) ของอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยสัญญาซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศ (CISG)’ หนังสือมุทิตาจิตเนื่องในโอกาสครบรอบ 60 ปี ศาสตราจารย์ ดร.กำชัย จงจักรพันธ์ (รอตีพิมพ์).
- ________, ‘การปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นบนโลกออนไลน์โดย Facebook: ศึกษากรณีความเป็นไปได้ที่ Facebook จะฟ้องรัฐบาลไทย และกรณีผู้ใช้บริการที่ได้รับผลกระทบจะฟ้อง Facebook’ วารสารนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3, 351-387 (2564).
- Thanapat Chatinakrob, ‘Happiness-sharing Pantries: an effective weapon to ease hunger for the needy during the pandemic in Thailand’ LSE Southeast Asia Blog (LSE Saw Swee Hock Southeast Asia Centre) (2020), available at https://blogs.lse.ac.uk/seac/2020/09/16/happiness-sharing-pantries/.
- ธนภัทร ชาตินักรบ, ‘การตีความสนธิสัญญา’ 60 ปี รศ.ดร.พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร (โรงพิมพ์เดือนตุลา, 2563) หน้า 378-405.
- Thanapat Chatinakrob, ‘Possible Reforms of ISDS: Some Considerations on the ICS in CETA’ Cambridge International Law Journal (2019), available at http://cilj.co.uk/2019/01/29/possible-reforms-of-isds-some-considerations-on-the-ics-in-ceta/.
- ________, ‘Material Breach and Its Exception: An Analysis of ‘A Humanitarian Character’’ Institute of Advanced Legal Studies (IALS) Student Law Review 5(2), 43-54 (2018).
- ________, ‘Illegal Trade of Elephant Ivory and Implementation of CITES by Thailand’ Mae Fah Luang University Rapee Law Journal 61, 131-156 (2018).
- ________, ‘The Significance of Subsequent Agreements and Practice of the 1969 Vienna Convention on the Law of Treaties in the Development of International Law’: The Analysis of the Notable Navigational and Related Rights and Whaling decisions’ Journal of Law, Policy and Globalization 74, 26-36 (2018).
- ________, ‘From Stockholm to Rio: The Contribution of Soft Law to the Deployment of International Environmental Law’ Journal of Legal Studies & Research 4(3), 538-559 (2018).
- ________, ‘Justifying Jurisprudence Constante as Interpretative Instrument of Investment Treaty Arbitration’ Journal of Legal Studies & Research 4(2), 188-198 (2018).
- ________, ‘Conceptual and Strategic Framework for the Development of Rule of Law Index/Indicators’ TDRI Quarterly Review 31(3), 14-18 (2016).
- ธนภัทร ชาตินักรบ, ‘เพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการศาลไทย ด้วย e-Court’ หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ (กรุงเทพ, 19 พฤศจิกายน 2558) 10.
- ________, ‘การตีความสนธิสัญญาแบบวิวัฒนาการ: กรณีศึกษาคำชี้ขาดขององค์กรระงับข้อพิพาทขององค์การการค้าโลกและคณะอนุญาโตตุลาการทางการลงทุนระหว่างประเทศ’ วารสารบัณฑิตศึกษา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, หน้า 308-320.
- Thanapat Chatinakrob, ‘Is there an Effective Dispute Settlement Mechanism in the ASEAN?’ (2015) 2015 ECHO Magazine 42.
บทวิจารณ์หนังสือ
- Book Review ‘Treaty Interpretation by Richard Gardiner, second edition’. Thailand Journal of International Law 2, forthcoming (2021).
การนำเสนอผลงานทางวิชาการ
- 21 มิถุนายน 2565: นำเสนอร่างคู่มือแนวทางปฏิบัติงานว่าด้วยกฎการใช้กำลังอาวุธ หัวข้อ “การใช้กำลังและอาวุธ” ในการประชุมเชิงปฏิบัติการว่าด้วยกรอบกฎหมายกำกับการใช้กำลังและอาวุธของเจ้าพนักงานบังคับใช้กฎหมาย: ตอบโจทย์ความท้าทายบริบทของกฎหมายภายในและมาตรฐานสากลเพื่อให้ความคุ้มครองและการช่วยเหลือ, จัดโดยสำนักงานตำรวจแห่งชาติและคณะกรรมการกาชาดระหว่างประเทศ, กรุงเทพ ประเทศไทย.
- 28-29 พฤษภาคม 2665: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “State Responsibility for Information Operations: a Case Study of Myanmar’s Crime of Online Rohingya Genocide” ในการประชุมประจำปีครั้งที่ 19 ของสถาบันกฎหมายเอเชีย, จัดโดยบัณฑิตวิทยาลัยกฎหมายและรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยโตเกียว, โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น.
- 26-27 มีนาคม 2665: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Rethinking the Scope of International Law regulating Information Operations: Lessons Learned from a Crime of Online Genocide in Myanmar” ในการประชุมประจำปีครั้งที่ 11 ของวารสารกฎหมายระหว่างประเทศมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์, คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์, เคมบริดจ์ สหราชอาณาจักร.
- 7 กุมภาพันธ์ 2565: บรรยายเรื่อง “State Responsibility under International Law during a Pandemic” ในการบรรยายพิเศษภาษาอังกฤษ (TU Law Special Lecture Series 2022), คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพ ประเทศไทย.
- 14-18 มิถุนายน 2564: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “A Haunted Judgment without a Dead End?: A Lesson Learned from the ICJ Preah Vihear Request for Interpretation Judgment” ในการประชุมสัปดาห์ปริญญาเอก (Intensive Doctoral Week) การประชุมครั้งที่ 10 (ออนไลน์), Sciences Po Law School, ปารีส ประเทศฝรั่งเศส.
- 20-21 พฤษภาคม 2564: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “The Use of Practice of International Investment Law in Treaty Interpretation” ในการประชุมเชิงปฏิบัติการของนักศึกษาระดับปริญญาเอก การประชุมกฎหมายระหว่างประเทศแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยนิวเซาธ์เวลส์ แคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย.
- 12 พฤษภาคม 2564: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “The Use of Practice in Treaty Interpretation” ในการประชุมวิชาการของนักศึกษาภาคบัณฑิต มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ สหราชอาณาจักร.
- 26 กุมภาพันธ์ 2564: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Has ASEAN Prepared Enough for Treaty Interpretation?: Some Perspectives on the Dispute Settlement under RCEP and Other ASEAN Economic Agreements” ในการประชุมวิชาการของสถาบันกฎหมายเอเชีย มหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์.
- 27 ตุลาคม 2563: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “ASEAS UK-SEAC Panels on Southeast Asia Research” ในการประชุมวิชาการประจำปีของวิทยาลัยเศรษฐศาสตร์และรัฐศาสตร์แห่งลอนดอน.
- 13-14 กรกฎาคม 2563: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Expanding the Horizon of Legal Hermeneutics: Does There Exist a ‘True Meaning’ in Treaty Interpretation?” ในการประชุมระหว่างประเทศด้านกฎหมายครั้งที่ 17 เอเธนส์ ประเทศกรีซ.
- 17 มีนาคม 2563: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Expanding the Horizon of Legal Hermeneutics: Does There Exist a ‘True Meaning’ in Treaty Interpretation?” ในการประชุมวิชาการของนักศึกษาภาคบัณฑิต มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ สหราชอาณาจักร.
- 14 กรกฎาคม 2562: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Looking Back while Moving Forward: the (Almost) Hundred Years Development of the Theory of Legal Argumentation by the ICJ and its Predecessor” ในการประชุมครบรอบ 10 ปีของสมาคมกฎหมายระหว่างประเทศแห่งเอเชีย (ญี่ปุ่น) มหาวิทยาลัย Meiji Gakuin University โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น.
- 9 กุมภาพันธ์ 2562: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Applying the Theory of Legal Argumentation as a Legitimate Reasoning for Treaty Interpretation in the ICJ Proceedings” ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัย Trinity College Dublin ประเทศไอร์แลนด์.
- 13 ตุลาคม 2561: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “The Asians in the World Court: Same Problems, New Solutions and Further Reforms? A Lesson Learned from the Preah Vihear Interpretation Judgment” ในการประชุมภูมิภาคของสมาคมกฎหมายระหว่างประเทศแห่งเอเชีย ปักกิ่ง ประเทศจีน.
- 5 มิถุนายน 2561: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Effect of CJEU’s Achmea Judgment” ในการประชุมของ European Federation for Investment Law and Arbitration (EFILA) บรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม.
- 8 มีนาคม 2561: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “Statelessness and rights among the Rohingya in Thailand” ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยลอนดอน (ควีนแมรี่) ลอนดอน สหราชอาณาจักร.
- 12 มกราคม 2561: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “The Significance of Subsequent Agreements and Practice of the VCLT in the Development of International Law” ในการประชุมประจำปีของสมาคมนักวิชาการกฎหมายระหว่างประเทศรุ่นใหม่ มหาวิทยาลัย American University Washington College of Law วอชิงตัน สหรัฐอเมริกา.
- 11 กุมภาพันธ์ 2559: นำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง “การใช้หลักนิติธรรมในฐานะเครื่องมือประเมินสถานการณ์ทางการเมือง: กรณีศึกษาโครงการนิติธรรมโลก” สำนักงานคณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย กรุงเทพ ประเทศไทย.
สัมภาษณ์รายการวิทยุ/โทรทัศน์/โซเชียลมีเดีย
- 31 มีนาคม 2565: “22 หลักการห้ามโจมตีสถานพยาบาลในกฎหมายมนุษยธรรมระหว่างประเทศ”, รายการเผยแพร่ความรู้กฎหมาย โดยศูนย์นิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
- 24 มีนาคม 2565: “21 หลักการห้ามใช้กำลังในกฎหมายระหว่างประเทศ”, รายการเผยแพร่ความรู้กฎหมาย โดยศูนย์นิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
- 17 ธันวาคม 2564: “ประเมินศึกใน – ศึกนอก กองทัพเมียนมา”, รายการทันโลกกับที่นี่ThaiPBS (ช่องไทยพีบีเอส).
- 17 ธันวาคม 2564: “เมื่อศาลอาร์เจนตินาเปิดการสอบสวนคดีก่ออาชญากรรมต่อชาวโรฮิงญา”, รายการข่าวค่ำมิติใหม่ (ช่องไทยพีบีเอส).
- 27 สิงหาคม 2564: “ซ้อม-อุ้ม-ฆ่า: เมื่อผู้รักษากฎหมาย…กลายเป็นผู้ร้ายเสียเอง?”, Clubhouse Nitihub.
- 6 สิงหาคม 2564: “เมื่อการวิจารณ์เป็นเรื่องต้องห้าม การสรรเสริญจึงเป็นเรื่องโกหก”, เสวนานิติศึกษา
(ผู้วิพากษ์). - 3 มีนาคม 2564: “ม็อบปลอดภัย?!: เมื่อการชุมนุมโดยสงบไม่ได้รับการคุ้มครอง (ตอนที่ 2)”, Clubhouse Nitihub.
- 26 ตุลาคม 2563: “สนธิสัญญาห้ามใช้อาวุธนิวเคลียร์: กุญแจสู่สันติภาพ?”, รายการจับตาสถานการณ์
(ช่องไทยพีบีเอส). - 8 มิถุนายน 2563: “อนุสัญญาอุ้มหาย: กลไกลแก้ปัญหาอุ้มหาย”, รายการจับตาสถานการณ์ (ช่องไทยพีบีเอส).
- 8 กุมภาพันธ์ 2559: “การคอร์รัปชันของตำรวจจราจร”, สถานีวิทยุองค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย (MCOT) (ช่อง FM 96.5 KHz).
- 5 พฤษภาคม 2559: “กฎหมายอาญา”, สถานีวิทยุสราญรมย์ (ช่อง AM 1575 KHz).
รางวัล
- School of Social Sciences, Postgraduate Research Award, University of Manchester, UK, 2021
- PhD School of Law Scholarship (PhD School of Social Sciences Scholarship), University of Manchester, UK, 2018-2021
- Scholarship, ASEAN Law Academy Advanced Programme (Educator Programme), Centre for International Law, National University of Singapore, Singapore, 2021
- วิทยานิพนธ์ดีเด่น สาขากฎหมายระหว่างประเทศ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2557
- ประกาศนียบัตรสอบเข้าคะแนนสูงสุด หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขากฎหมายระหว่างประเทศ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2556