';
ข่าวสาร | คณาจารย์ | สนับสนุนคณะ | สำหรับศิษย์เก่า | ติดต่อสอบถาม |
Faculty of Law | Thammasat University
logo
logo
Faculty of Law | Thammasat University
ไทย
  • ไทย
  • อังกฤษ
  • เกี่ยวกับคณะนิติศาสตร์
    • ประวัติและข้อมูลเกี่ยวกับคณะฯ
      • ประวัติความเป็นมา
      • หอเกียรติยศแห่งคณะนิติศาสตร์
      • ศูนย์การศึกษา
    • ผู้บริหาร
      • สารจากคณบดี
      • คณะผู้บริหาร
    • ศูนย์กฎหมายทั่วไป
      • ศูนย์กฎหมายแพ่ง
      • ศูนย์กฎหมายมหาชน
      • ศูนย์กฎหมายพาณิชย์และธุรกิจ
      • ศูนย์กฎหมายภาษี
      • ศูนย์กฎหมายอาญาและอาชญาวิทยา
      • ศูนย์กฎหมายสิ่งแวดล้อม
      • ศูนย์กฎหมายระหว่างประเทศ
      • ศูนย์กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ
      • ศูนย์นิติศึกษา
    • ศูนย์กฎหมายเฉพาะทาง
      • ศูนย์ศึกษากฎหมายฝรั่งเศส
      • ศูนย์ศึกษากฎหมายเยอรมัน
      • ศูนย์ CPG
      • สถาบันกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี
      • ศูนย์กฎหมายสุขภาพและจริยศาสตร์
      • ศูนย์ศึกษากฎหมายญี่ปุ่น
    • มูลนิธิและกองทุน
      • มูลนิธินิติศาสตร์
      • มูลนิธิศาสตราจารย์ ดร.หยุด แสงอุทัย
      • กองทุนศาสตราจารย์สัญญา ธรรมศักดิ์
      • กองทุนศาสตราจารย์จิตติ ติงศภัทิย์
    • บุคลากรสายวิชาการ
      • อาจารย์ประจำ
      • อาจารย์ชาวต่างชาติ
      • อาจารย์พิเศษ
      • อาจารย์อาคันตุกะ
    • เจ้าหน้าที่สนับสนุนวิชาการ
      • สำนักงานเลขานุการ
      • งานบริการการศึกษา (ศูนย์รังสิต)
      • งานบริการการศึกษา (ศูนย์ลำปาง)
      • งานบริการการศึกษาหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ภาคบัณฑิต
      • งานบริการการศึกษาหลักสูตรบัณฑิตศึกษา
      • งานบริการการศึกษาหลักสูตรนานาชาติ
      • งานอบรมและให้คำปรึกษาทางกฎหมาย
      • งานวิจัยและการผลิตผลงานทางวิชาการ
      • งานบริการสังคม
      • ศูนย์นิติศาสตร์
      • งานวางแผน ประกันคุณภาพและควบคุมภายใน
      • งานวิเทศสัมพันธ์
      • งานศิษย์เก่าสัมพันธ์และระดมทุน
      • งานเทคโนโลยีสารสนเทศ สื่อสารองค์กรและการประชาสัมพันธ์
      • งานธุรการ (ท่าพระจันทร์)
      • งานธุรการ (ศูนย์รังสิต)
      • งานธุรการศูนย์ลำปาง
      • งานการเงิน บัญชี และพัสดุ
      • งานบุคคลและธุรการศูนย์กฎหมาย
    • บทสัมภาษณ์
      • คุยกับอาจารย์กฎหมาย
      • คุยกับนักศึกษากฎหมาย
      • คุยกับศิษย์เก่า
      • โครงการผู้ช่วยอาจารย์
      • ศูนย์นิติศาสตร์
      • สนทนาปัญหากฎหมาย
    • รายงานการประชุม
    • สนับสนุนคณะนิติศาสตร์
    • สำหรับศิษย์เก่า
    • ข่าวสาร
    • ติดต่อสอบถาม
  • สำหรับผู้สนใจเข้าศึกษา
    • หลักสูตรปริญญาตรี
      • หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (ภาคปกติ) ศูนย์รังสิต
      • หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (ภาคปกติ) ศูนย์ลำปาง
      • หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (ภาคบัณฑิต)
      • หลักสูตร International LL.B. Program in Business Law
    • หลักสูตรปริญญาโท
      • หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต
      • หลักสูตร International LL.M. Program in Business Law
    • หลักสูตรปริญญาเอก
      • หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต
      • หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารกระบวนการยุติธรรม
    • หลักสูตรประกาศนียบัตร
      • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกฎหมายมหาชน
  • สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน
    • ปริญญาตรี (ภาคปกติ) ศูนย์รังสิต
    • ปริญญาตรี (ภาคปกติ) ศูนย์ลำปาง
    • ปริญญาตรี (ภาคบัณฑิต)
    • ปริญญาตรี (หลักสูตรนานาชาติ) LL.B.
    • ปริญญาโท (หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต)
    • ปริญญาโท (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) LL.M.
    • ปริญญาเอก (หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต)
    • ปริญญาเอก (หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารกระบวนการยุติธรรม)
    • หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกฎหมายมหาชน
  • บริการสังคม
    • ศูนย์จัดการศึกษาและฝึกอบรมด้านกฎหมาย
    • ศูนย์นิติศาสตร์
  • ผลงานเผยแพร่
    • หนังสือและตำรา
    • งานวิจัย
    • วารสารนิติศาสตร์
    • วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี
    • Thammasat Business Law Journal
    • วิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
    • สรุปสาระสำคัญจากเสวนา / สัมมนาวิชาการ
    • TU Law Infographic
    • บทความของนักศึกษา
    • อื่น ๆ
ไทย
  • ไทย
  • อังกฤษ
Copyright © All Right Reserved

ป.เอก – ข่าวประชาสัมพันธ์

Home » ป.เอก - ข่าวประชาสัมพันธ์
Filter by:
Categories
  • info2566
  • บุคลากรศูนย์นิติศาสตร์
  • LAW CATEGORIES
  • ข่าวสารและกิจกรรม
  • ประกาศ
  • ข่าวจัดซื้อจัดจ้าง
  • ประกาศรับสมัครงาน
  • งานวิจัย
  • โคโรนา
  • วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี
  • ปี 2565
  • ปี 2564
  • ปี 2563
  • ปี 2562
  • ป.ตรี(รังสิต) - ตารางเรียน
  • ป.ตรี(รังสิต) - ตารางสอบ
  • ป.ตรี(รังสิต) - คะแนนสอบ
  • ป.ตรี(รังสิต) - ข่าวประชาสัมพันธ์
  • ป.ตรีรังสิต – กิจกรรม
  • ป.ตรี(รังสิต) - ทุนการศึกษา
  • ป.ตรี(รังสิต) - แบบฟอร์ม
  • ป.ตรี(รังสิต) - ระเบียบ
  • ป.ตรีรังสิต – อื่นๆ
  • ป.ตรี(ลำปาง) - ตารางเรียน
  • ป.ตรี(ลำปาง) - ตารางสอบ
  • ป.ตรี(ลำปาง) - ข่าวประชาสัมพันธ์
  • ป.ตรี(ลำปาง) - ทุนการศึกษา
  • ป.ตรี(ลำปาง) - แบบฟอร์ม
  • ป.ตรี(ลำปาง) - ระเบียบ
  • ป.ตรี(ลำปาง) - อื่นๆ
  • ป.ตรี(ภาคบัณฑิต) - ตารางเรียน
  • ป.ตรี(ภาคบัณฑิต) - ตารางสอบ
  • ป.ตรี(ภาคบัณฑิต) - ข่าวประชาสัมพันธ์
  • ป.ตรี(ภาคบัณฑิต) – กิจกรรม
  • ป.ตรี(ภาคบัณฑิต) - แบบฟอร์ม
  • ป.ตรี(ภาคบัณฑิต) - ระเบียบ
  • ป.โท - ตารางเรียน
  • ป.โท - ตารางสอบ
  •  ป.โท - งดบรรยายและบรรยายชดชดเชย
  • ป.โท - ข่าวประชาสัมพันธ์
  • ป.โท - กิจกรรม
  • ป.โท - ทุนการศึกษา
  • ป.โท - แบบฟอร์ม
  • ป.โท - ระเบียบ
  • ป.โท - อื่นๆ
  • ป.เอก - ตารางเรียน
  • ป.เอก – ตารางสอบ
  • ป.เอก - ข่าวประชาสัมพันธ์
  • ป.เอก - กิจกรรม
  • ป.เอก - ทุนการศึกษา
  • ป.เอก - แบบฟอร์ม
  • ป.เอก - ระเบียบ
  • ป.เอก - อื่นๆ
  • ป.เอก(บริหาร) - ตารางเรียน
  • ป.เอก(บริหาร ) - ตารางสอบ
  • ป.เอก(บริหาร) - ข่าวประชาสัมพันธ์
  • ป.เอก(บริหาร) - กิจกรรม
  • ป.เอก(บริหาร) - ทุนการศึกษา
  • ป.เอก(บริหาร) - แบบฟอร์ม
  • ป.เอก(บริหาร) - ระเบียบ
  • ป.เอก(บริหาร) - อื่นๆ
  • ป.ประกาศนียบัตร – ตารางเรียน
  • ป.ประกาศนียบัตร - ข่าวประชาสัมพันธ์
  • ป.ประกาศนียบัตร - กิจกรรม
  • ป.ประกาศนียบัตร - แบบฟอร์ม
  • ป.ประกาศนียบัตร - ระเบียบ
  • บทสัมภาษณ์
  • คุยกับอาจารย์กฎหมาย
  • คุยกับนักศึกษากฎหมาย
  • คุยกับผู้บริหารคณะนิติศาสตร์
  • การแข่งขัน
  • โครงการผู้ช่วยอาจารย์
  • โครงการอบรม
  • Uncategorized @th
Authors
  • Chutima
  • gradtulaw
  • kish2001
  • p.phaksa
  • radsadon2475
  • sirinthip0199
  • gcnlawxmn
  • tulawlampang
  • wiwat.ksp
ส่งบทความผลงานวิจัยเข้าร่วมนำเสนอในกิจกรรม Thailand Research Symposium 2023
0 Like!
ป.โท - ข่าวประชาสัมพันธ์
ส่งบทความผลงานวิจัยเข้าร่วมนำเสนอในกิจกรรม Thailand Research Symposium 2023
กุมภาพันธ์ 16, 2023 by gradtulaw in ป.โท - ข่าวประชาสัมพันธ์
More
Share
มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา ขอเชิญนักศึกษาและผู้สนใจเข้าร่วมการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฎกรุงเก่า” ครั้งที่ 5 ระหว่างวันที่ 15-16 ธันวาคม 2565
0 Like!
ป.โท - ข่าวประชาสัมพันธ์
มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา ขอเชิญนักศึกษาและผู้สนใจเข้าร่วมการประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชภัฎกรุงเก่า” ครั้งที่ 5 ระหว่างวันที่ 15-16 ธันวาคม 2565
สิงหาคม 17, 2022 by gcnlawxmn in ป.โท - ข่าวประชาสัมพันธ์
More
Share
ประกาศรายชื่อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระดีเด่นระดับบัณฑิตศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563
0 Like!
ป.โท - ข่าวประชาสัมพันธ์
ประกาศรายชื่อวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระดีเด่นระดับบัณฑิตศึกษา ประจำปีการศึกษา 2563
มีนาคม 16, 2022 by gcnlawxmn in ป.โท - ข่าวประชาสัมพันธ์

อ่านรายละเอียด   Click Link 

More
Share
ประกาศคณะนิติศาสตร์ เรื่อง ผลการคัดเลือกบุคคลภายนอกช่วยงานบัณฑิตศึกษา
0 Like!
ป.โท - ข่าวประชาสัมพันธ์
ประกาศคณะนิติศาสตร์ เรื่อง ผลการคัดเลือกบุคคลภายนอกช่วยงานบัณฑิตศึกษา
ธันวาคม 14, 2020 by gcnlawxmn in ป.โท - ข่าวประชาสัมพันธ์

Click Link

More
Share
ผู้สนใจเข้าศึกษา
  • นิติศาสตรบัณฑิต ศูนย์รังสิต
  • นิติศาสตรบัณฑิต ศูนย์ลำปาง
  • นิติศาสตรบัณฑิต (ภาคบัณฑิต)
  • International LL.B.
  • นิติศาสตรมหาบัณฑิต
  • International LL.M.
  • นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต
  • ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
  • ประกาศนียบัตร
สำหรับนักศึกษาปัจจุบัน
  • นิติศาสตรบัณฑิต ศูนย์รังสิต
  • นิติศาสตรบัณฑิต ศูนย์ลำปาง
  • นิติศาสตรบัณฑิต (ภาคบัณฑิต)
  • International LL.B.
  • นิติศาสตรมหาบัณฑิต
  • International LL.M.
  • นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต
  • ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
  • ประกาศนียบัตร
บุคลากรสายวิชาการ
  • อาจารย์ประจำ
  • อาจารย์ชาวต่างชาติ
  • อาจารย์พิเศษ
  • อาจารย์อาคันตุกะ
หน่วยงาน
  • ศูนย์กฎหมายทั่วไป
  • ศูนย์กฎหมายเฉพาะทาง
อื่นๆ
  • ข้อร้องเรียน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์

2 ถนนพระจันทร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง
เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต

99 หมู่ 18 ถ.พหลโยธิน ต.คลองหนึ่ง
อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง

248 หมู่ 2 ถ.ลำปาง-เชียงใหม่ ต.ปงยางคก
อ.ห้างฉัตร จ.ลำปาง 52190

Copyright © All Right Reserved

logo
MENU

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1

สร้างบัณฑิตที่มีคุณลักษณะ GREATS

เป้าประสงค์ สร้างนักกฎหมายที่มีคุณลักษณะ GREATS ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่ ส่งเสริมให้คิดเป็นและสามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  1. ส่งเสริมให้นักศึกษาพัฒนาทัศนคติและทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงานในโลกยุคใหม่ เช่น การคิดวิเคราะห์ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การทำงานร่วมกับผู้อื่น การปรับตัว การเรียนรู้ตลอดชีวิต การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ และการจัดการเวลา เป็นต้น โดยจัดในรูปกิจกรรมที่สอดแทรกอยู่ในวิธีการเรียนการสอนและการวัดผลทางการศึกษา หรือจัดในรูปกิจกรรมนอกห้องเรียน
  2. ผลักดันและร่วมมือกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในการปรับปรุงวิชาศึกษาทั่วไปเพื่อให้เหมาะสมกับลักษณะของวิชานิติศาสตร์และช่วยส่งเสริมความรู้และทักษะอื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการศึกษาและประกอบวิชาชีพกฎหมายอย่างแท้จริง
  3. แก้ไขปรับปรุงหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (ภาคบัณฑิต) เพื่อให้สอดคล้องกับธรรมชาติของการศึกษากฎหมายสำหรับผู้ที่เคยผ่านการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงานมาก่อน
  4. จัดทำหลักสูตรเตรียมความพร้อม (pre-law) สำหรับนักศึกษาใหม่ในระดับชั้นปริญญาตรีอย่างจริงจังเพื่อให้นักศึกษาใหม่เกิดความคุ้นเคยกับการศึกษากฎหมาย และเกิดความตระหนักรู้ถึงความท้าทายต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในระหว่างการศึกษา สามารถรับมือความเครียดและความกดดันอันเกิดจากการศึกษาและการใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย
  5.  จัดทำหลักสูตรเตรียมความพร้อมสำหรับการประกอบวิชาชีพและการทำงานกฎหมายในภาคปฏิบัติ (workshop on legal practice) เพื่อให้นักศึกษาที่ใกล้สำเร็จการศึกษามีทักษะที่จำเป็นสำหรับการเริ่มต้นประกอบวิชาชีพกฎหมาย และเกิดความตระหนักรู้ถึงความท้าทายต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นในการทำงานหรือการศึกษาต่อ รวมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีโอกาสนำความรู้กฎหมายไปปฏิบัติจริงให้มากขึ้น ผ่านโครงการฝึกงาน โครงการช่วยเหลือสังคม และกิจกรรมอื่น ๆ
  6.  ศึกษาความเป็นไปได้และส่งเสริมให้เกิดหลักสูตรร่วมข้ามสาขาวิชาในระดับชั้นปริญญาตรี โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาขานิติศาสตร์ กับสาขาการบัญชีหรือสาขาการบริหารธุรกิจ เพื่อผลิตนักกฎหมายที่มีความรู้เข้าใจธรรมชาติของธุรกิจ หรือผลิตนักบัญชีหรือบริหารธุรกิจที่มีความรู้ความเข้าใจกฎหมาย นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้นักศึกษากฎหมายในระดับชั้นปริญญาตรีได้ศึกษาวิชาเลือกที่เกี่ยวข้องกับการบัญชี การบริหารธุรกิจ หรือเศรษฐศาสตร์เพิ่มมากขึ้น
  7.  ส่งเสริมการเปิดหลักสูตรปริญญาตรีควบปริญญาโทกับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศ โดยที่นักศึกษาจะศึกษาในหลักสูตรปริญญาตรีที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เป็นเวลา 3 ปีและศึกษาในหลักสูตรปริญญาโทในมหาวิทยาลัยต่างประเทศอีก 1 ปี โดยจะได้รับทั้งปริญญาตรีและโททางกฎหมายเมื่อสอบผ่านหลังจากที่ศึกษามาครบ 4 ปี โดยแก้ไขหรือปรับปรุงหลักสูตรเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาปริญญาตรีในหลักสูตรภาษาไทยสามารถเข้าร่วมโครงการได้สะดวกมากยิ่งขึ้น
  8. ส่งเสริมการเปิดหลักสูตรปริญญาโทร่วม (Double LLMs) โดยสอนเป็นภาษาอังกฤษกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ
  9. ศึกษาความเป็นไปได้ในการเปิดหลักสูตรปริญญาโทที่คณะนิติศาสตร์ ศูนย์ลำปาง
  10. ส่งเสริมให้นักศึกษาในหลักสูตรภาษาไทยได้มีโอกาสพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษมากยิ่งขึ้นโดยการเปิดสอนวิชาเลือกทางนิติศาสตร์เป็นภาษาอังกฤษ และการจัดอบรมและกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
  11. จัดตั้งหน่วยงานหรือกลไกในการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (emotional intelligence) และดูแลสุขภาพจิต (mental health) ของนักศึกษาอย่างจริงจัง ตั้งแต่เริ่มต้นเข้าศึกษา ระหว่างการศึกษา และก่อนสำเร็จการศึกษา
  12. ส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีโอกาสทำกิจกรรมวิชาการและกิจกรรมทางสังคมกับนักศึกษาต่างชาติ และได้มีโอกาสเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนในระดับชั้นปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษากับมหาวิทยาลัยต่างชาติที่เป็นคู่สัญญาเพื่อเปิดโลกทัศน์และแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ ทั้งนี้จะมีการแก้ไขหรือปรับปรุงหลักสูตรเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาในหลักสูตรภาษาไทยสามารถเข้าร่วมโครงการได้สะดวกมากยิ่งขึ้น
  13. จัดทำโครงการ mentoring เพื่อให้ศิษย์เก่าที่มีประสบการณ์และเป็นแบบอย่างที่ดีมีส่วนร่วมในการดูแลและให้คำแนะนำนักศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมสำหรับการประกอบวิชาชีพ
  14. ศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์
  15. ส่งเสริมให้นักศึกษาใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ การศึกษาและวิจัยเพิ่มมากขึ้น

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2

สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรมที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ในเชิงพัฒนาต่อสังคมไทยและสังคมโลก

เป้าประสงค์ ผลิตงานวิจัยและนวัตกรรมที่มีคุณภาพระดับมาตรฐานสากลและนำไปใช้ประโยชน์อย่างบูรณาการและยั่งยืน 

  1. จัดทำโครงการ Young Scholar Workshop หรือ Young Researcher Workshop เป็นภาษาไทยและ/หรือภาษาอังกฤษ เป็นประจำทุกปี เพื่อพัฒนาทักษะการวิจัยตามมาตรฐานสากลให้กับอาจารย์ประจำและนักวิจัยทางนิติศาสตร์รุ่นใหม่ของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และเปิดโอกาสให้นักวิชาการในสถาบันอื่น ๆ ของไทยและประเทศเพื่อนบ้านเข้าร่วมโครงการ
  2. ส่งเสริมให้อาจารย์ประจำเข้าร่วมโครงการ visiting research/scholar fellowship ในมหาวิทยาลัยต่างประเทศชั้นนำเพื่อเรียนรู้การทำงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับมาตรฐานสากล
  3. ส่งเสริมให้มีการตีพิมพ์ผลงานวิจัยของอาจารย์ประจำในวารสารที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลระดับนานาชาติเพิ่มมากขึ้น โดยการเพิ่มแรงจูงใจในรูปแบบต่าง ๆ
  4. ส่งเสริมให้มีการทำวิจัยร่วมกันระหว่างอาจารย์ประจำและอาจารย์หรือนักวิจัยของสถาบันการศึกษาชั้นนำในต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น
  5. ส่งเสริมให้มีการนำผลของการวิจัยไปใช้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนหรือการพัฒนาสังคมมากยิ่งขึ้น มีการเผยแพร่งานวิจัยเพื่อให้ความรู้แก่สังคมในรูปแบบที่น่าสนใจและเข้าถึงได้โดยง่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ และพัฒนาฐานข้อมูลงานวิจัยของอาจารย์และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เพื่อการสืบค้นและการเผยแพร่
  6. ส่งเสริมให้มีการวางรากฐานทักษะในการทำวิจัยแก่นักศึกษาปริญญาตรี เพื่อให้สามารถพัฒนาต่อยอดได้ภายหลังสำเร็จการศึกษา และเปิดโอกาสให้นักศึกษาปริญญาตรีมีส่วนร่วมและฝึกทักษะการวิจัยในฐานะผู้ช่วยวิจัย
  7. จัดทำวารสาร Thammasat Journal of Thai Legal Studies เป็นภาษาอังกฤษเพื่อเป็นช่องทางในการเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายไทยเพื่อให้เป็นที่รับรู้ในระดับสากล

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3

สร้างเครือข่ายความร่วมมือทั้งภายในและภายนอกประเทศ

เป้าประสงค์ ผลักดันให้เกิดการสร้างความร่วมมือทั้งภายในและภายนอกประเทศเพื่อการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการและการพัฒนาสังคม 

  1. ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาและวิจัยชั้นนำในต่างประเทศ และผลักดันให้เกิดการทำกิจกรรมทางวิชาการร่วมกันอย่างจริงจังและสม่ำเสมอภายใต้กรอบความร่วมมือ
  2. การจัดการหลักสูตรอบรมระยะสั้น เช่น Young Scholar Workshop หรือ Young Researcher Workshop โดยให้นักวิชาการจากประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เข้าร่วม เช่น ลาว พม่า กัมพูชา เพื่อให้คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นต้นแบบและเป็นศูนย์กลางของเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  3. ส่งเสริมให้อาจารย์ประจำเข้าร่วมกิจกรรมทางวิชาการในระดับภูมิภาคเอเชียเพื่อเชื่อมและรักษาความสัมพันธ์ และเพื่อเรียนรู้และติดตามพัฒนาการทางกฎหมายและการศึกษากฎหมายในประเทศเพื่อนบ้าน
  4. ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายศิษย์เก่าที่เข้มแข็งเพื่อให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพทางวิชาการของคณะนิติศาสตร์ มีส่วนร่วมในการพัฒนาทักษะด้านต่าง ๆ ของนักศึกษากฎหมาย และมีส่วนร่วมในการสนับสนุนการดำเนินงานของคณะนิติศาสตร์ผ่านการระดมทุน
  5. เพิ่มจำนวนนักศึกษาแลกเปลี่ยนทั้งรับเข้ามาศึกษาและส่งออกไปศึกษา

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4

มุ่งเน้นคุณภาพการให้บริการวิชาการที่ได้มาตรฐานสากล

เป้าประสงค์ พัฒนาการให้บริการทางวิชาการแก่สังคมทั้งในและต่างประเทศเพื่อให้ได้รับความรู้ ทางกฎหมายที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับความต้องการอย่างเหมาะสม 

  1. ให้ความรู้และตอบปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมอย่างทันท่วงทีผ่านช่องทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพและสะดวกในการเข้าถึง เช่น การเผยแพร่และให้ความรู้ทางกฎหมายผ่านทางสื่อสังคมออนไลน์ หรือตอบคำถามกฎหมายปัจจุบันที่สังคมสงสัยโดยใช้รูปแบบที่น่าสนใจ เช่น การใช้ infographic
  2. เผยแพร่งานวิจัยเพื่อตอบโจทย์สังคมในรูปแบบที่เข้าถึงได้ง่ายและน่าสนใจ
  3. จัดทำวารสาร Thammasat Journal of Thai Legal Studies เป็นภาษาอังกฤษเพื่อเป็นแหล่งข้อมูลในการเผยแพร่ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายไทยในเวทีสากล
  4. จัดทำหลักสูตรอบรมระยะสั้นที่ทันสมัยและตอบสนองความต้องการของสังคมทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจ และศึกษาความเป็นไปได้ในการเปิดหลักสูตรอบรมระยะสั้นที่ตอบโจทย์ความต้องการของหน่วยงานภาครัฐและภาคธุรกิจในพื้นที่ภาคเหนือ
  5. ปรับปรุงและพัฒนาศูนย์ให้คำปรึกษาทางกฎหมายให้เป็นหน่วยที่สามารถให้บริการให้คำปรึกษาทางกฎหมายเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษแก่องค์กรของรัฐและองค์กรเอกชนโดยมีมาตรฐานในระดับทัดเทียมกับสำนักงานกฎหมาย เพื่อให้บริการทางกฎหมายแก่สังคมและเปิดโอกาสให้อาจารย์ประจำมีประสบการณ์การปรับใช้กฎหมายในทางปฏิบัติ
  6. เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกที่สนใจสามารถเข้าฟังการบรรยายตามหลักสูตรในบางเรื่อง หรือการอบรมหรือการเผยแพร่ความรู้บนระบบออนไลน์เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วไปที่สนใจสามารถเรียนรู้และเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายและสะดวกขึ้น
  7. ส่งเสริมให้นักศึกษากฎหมายมีส่วนร่วมให้การเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายทั้งที่เป็นภาษาไทยและเป็นภาษาอังกฤษมากยิ่งขึ้นเพื่อให้ประชาชนทั่วไปเข้าถึงกระบวนยุติธรรมอย่างเท่าเทียม

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5

มุ่งสู่ความมั่นคง ยั่งยืนด้วยการบริหารจัดการที่ทันสมัย

เป้าประสงค์ มีระบบการบริหารจัดการเรียนการสอนและการบริหารงานงานบุคคลที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ และบุคลากรสามารถทำงานเกิดผลสำเร็จในสภาพแวดล้อมที่ดีและปลอดภัย 

  1. พัฒนาให้คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็น smart law school โดยมีเป้าหมายที่จะนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้กระบวนการเรียนรู้ของนักศึกษาเป็นไปอย่างสะดวก รวดเร็ว และสมบูรณ์มากที่สุด และนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดเก็บข้อมูล การบริหารงานบุคคล การจัดการเงินและงบประมาณ งานธุรการอื่น ๆ และการให้บริการแก่นักศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดความซับซ้อนของระบบการทำงาน เพื่อประหยัดเวลาและงบประมาณ ซึ่งจะสอดรับกับเป้าประสงค์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่จะเป็น smart university
  2. ส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่เรียนรู้และพัฒนาตัวเองอยู่ตลอดเวลา โดยการให้และหาแหล่งทุนสนับสนุนการศึกษาต่อในระดับปริญญาโท การศึกษาวิจัยระยะสั้นทั้งในและต่างประเทศ การเข้าร่วมฝึกอบรมพัฒนาทักษะการทำงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะในการใช้เทคโนโลยีเพื่อสนับสนุนการทำงาน
  3. ส่งเสริมให้อาจารย์เรียนรู้และพัฒนาตัวเองตลอดเวลา เช่น การจัดอบรมให้ความรู้เรื่องเทคโนโลยีที่ส่งผลกระทบต่อกฎหมาย และเทคโนโลยีที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน เป็นต้น รวมทั้งศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนางานวิจัยด้านกฎหมายสาขาต่าง ๆ กับเทคโนโลยี
  4. ส่งเสริมให้อาจารย์แลกเปลี่ยนความรู้ เกี่ยวกับเทคนิควิธีการสอน และการวัดผล ทั้งในและนอกชั้นเรียน เพื่อพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
  5. จัดหาแหล่งทุนสนับสนุนให้อาจารย์ประจำไปศึกษาในระดับปริญญาเอก เข้าร่วมการอบรมสัมมนาและการศึกษาวิจัยระยะสั้น และการเป็น visiting scholar หรือ visiting researcher ณ สถาบันการศึกษาหรือวิจัยภายในประเทศและต่างประเทศ
  6. จัดหาแหล่งทุนสนับสนุนในการดำเนินงานของคณะนิติศาสตร์เพื่อเสริมหรือทดแทนการได้รับการอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการระดมทุนจากศิษย์เก่าหรือบุคคลทั่วไปที่ประสงค์จะร่วมพัฒนาคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  7. การส่งเสริมให้นักศึกษาระดับชั้นปริญญาตรี โท และเอก ที่มีผลการเรียนยอดเยี่ยมเข้าร่วมโครงการผู้ช่วยอาจารย์ (teaching fellowship) หรือผู้ช่วยวิจัย (research assistant) เพื่อเตรียมบุคลากรที่มีคุณภาพให้เป็นอาจารย์ประจำในอนาคต
  8. จัดตั้งหน่วยเทคโนโลยีสารสนเทศและประชาสัมพันธ์โดยมีบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญในจำนวนเพียงพอที่จะให้การสนับสนุนการเรียนการสอน การวิจัย การให้บริการสังคม และการบริหารจัดการทางธุรการของคณะนิติศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพและสอดรับกับการเปลี่ยนของสังคมในยุค Thailand 4.0
  9. ปรับปรุงระบบการบริหารงานบุคคลและพิจารณาความดีความชอบของเจ้าหน้าที่เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการทำงานและเกิดความเป็นธรรม
  10. ปรับปรุงระบบการพิจารณาความดีความชอบ (การคิดคะแนน workload) ของอาจารย์ประจำให้ทันสมัย สอดคล้องกับนโยบายการบริหารงานและมีความเป็นธรรม
  11. พัฒนาระบบการพิจารณาความดีความชอบ การเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการ ของอาจารย์ประจำชาวต่างชาติให้เกิดความชัดเจนและเป็นธรรม และปรับปรุงระบบธุรการให้เป็นภาษาอังกฤษมากขึ้นเพื่อสนับสนุนการทำงานของอาจารย์ประจำชาวต่างชาติ
  12. พัฒนาระบบการบริหารจัดการทางการเงิน บัญชี และพัสดุให้ทันสมัย ได้มาตรฐาน มีประสิทธิภาพและโปร่งใส
  13. วางแผนเรื่องอัตรากำลังและการทดแทนอัตรากำลัง (succession plan) รวมทั้งการพัฒนาบุคลากร (ทั้งเรื่องงบประมาณ สายความเชี่ยวชาญ) ของบุคลากรทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนวิชาการ
  14. แต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อส่งเสริมความเท่าเทียมเพื่อตรวจสอบและเสนอแนะเพื่อให้บุคลากรและนักศึกษาที่มีข้อจำกัด เช่น ผู้พิการ นักศึกษาต่างชาติ ได้รับบริการและสามารถเรียนรู้ได้อย่างเท่าเทียม
  15. ปรับปรุงการให้บริการทางการศึกษา การวิจัย และงานธุรการให้ส่งเสริมการเรียนรู้ เพื่อให้บุคลากรและนักศึกษาที่มีข้อจำกัด เช่น ผู้พิการ นักศึกษาต่างชาติ ได้รับบริการและสามารถทำงานและเรียนรู้ได้อย่างเท่าเทียม

หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (ภาคปกติ) ศูนย์รังสิต

หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตเป็นการศึกษาในระดับปริญญาตรีโดยใช้เวลาในการศึกษาประมาณ 4  ปี นักศึกษาจะต้องใช้เวลาในการศึกษาอย่างมากไม่เกิน 7 ปีการศึกษา และใช้เวลาศึกษาอย่างน้อย 7 ภาคการศึกษาปกติ หลักสูตรนี้จัดการศึกษาเป็นภาษาไทย นักศึกษาต้องศึกษารายวิชารวมกันไม่น้อยกว่า 129 หน่วยกิต ประกอบด้วยวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต (วิชาด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ) วิชาเฉพาะ 93 หน่วย (วิชาแกน (วิชาบังคับทางกฎหมาย) 75 วิชาเฉพาะด้าน (วิชาเลือกทางกฎหมาย) 18 หน่วยกิต) วิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต 

วิชาเฉพาะของหลักสูตร แบ่งเป็น 8 กลุ่มวิชากลุ่มวิชาหลักทั่วไปแห่งกฎหมาย กลุ่มวิชากฎหมายแพ่ง กลุ่มวิชากฎหมายอาญา กลุ่มวิชากฎหมายพาณิชย์ กลุ่มวิชากฎหมายมหาชน กลุ่มวิชากฎหมายวิธีสบัญญัติ กลุ่มวิชากฎหมายระหว่างประเทศ และกลุ่มวิชากฎหมายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม/กฎหมายเกี่ยวกับการพัฒนา ซึ่งในเนื้อหารายวิชามุ่งให้ความรู้ความเข้าใจพื้นฐานต่อกฎหมายและนิติวิธีเบื้องต้น มีความรู้ความเข้าใจต่อเนื้อหาของกฎหมายพื้นฐานในสาขากฎหมายต่าง ๆ ที่สำคัญ นิติวิธีที่เกี่ยวข้อง สามารถเข้าใจความแตกต่างของลักษณะเฉพาะและนิติวิธีเฉพาะของแต่ละสาขากฎหมายโดยสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของกฎหมายต่าง ๆ ที่อยู่ในระบบกฎหมายเดียวกันได้ สามารถพิจารณากฎหมายจากมุมมองอื่น ๆ นอกจากบนพื้นฐานของตัวบทกฎหมายหรือเอกสารทางกฎหมาย และมีทักษะพื้นฐานและจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ นอกจากนี้ หลักสูตรยังมีสาขาความเชี่ยวชาญทางกฎหมายเฉพาะด้าน 6 สาขา ดังนี้ สาขากฎหมายแพ่ง สาขากฎหมายอาญา สาขากฎหมายพาณิชย์ สาขากฎหมายมหาชน สาขากฎหมายระหว่างประเทศ และกฎหมายและการพัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อให้นักศึกษาเลือกศึกษาและมีความเชี่ยวชาญทางกฎหมายเฉพาะด้านนั้น ๆ 

คณะนิติศาสตร์รับผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเข้าศึกษาในหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ภาคปกติ โดยเปิดรับสมัคร 3 รอบดังต่อไปนี้  

  • รอบที่ 1 โครงการผู้มีความสามารถดีเด่นทางการกีฬา 
  • รอบที่ 2 รอบโควตา เปิดรับสมัคร 7 โครงการ ได้แก่ โควตาพื้นที่ โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือก โครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โครงการรับนักเรียนพลเมืองจิตอาสาเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โครงการนักศึกษาผู้มีความสามารถโดดเด่นนทางการกีฬา โครงการส่งเสริมนักเรียนเรียนดีภาคกลาง และโครงการนักศึกษาพิการ 
  • รอบที่ 3 Admissions แบ่งเป็น Admission 1 (สอบตรงนิติ มธ.) และ Admission 2 (Admission เดิม) 

นอกจากนี้คณะนิติศาสตร์ยังมีความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยชนชาติกว่างซี สาธารณรัฐประชาชนจีน ในการรับนักศึกษาจีนผู้สำเร็จการศึกษาในระดับอนุปริญญาเข้าศึกษาในหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต ภาคปกติ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2549 

หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (ภาคปกติ) ศูนย์ลำปาง 

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2546 โดยเปิดการเรียนการสอนทางด้านกฎหมายในช่วงแรกให้แก่ผู้ที่สนใจซึ่งต้องเป็นผู้ที่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีในสาขาอื่นมาแล้ว (หรือที่เรียกว่า “ภาคบัณฑิต”) ก่อนที่จะจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีให้แก่นักเรียนที่จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ตั้งแต่ พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการขยายโอกาสทางการศึกษาให้แก่นักเรียนที่มีภูมิลำเนาหรือศึกษาอยู่ในภาคเหนือของประเทศ การจัดการเรียนการสอนเป็นไปอย่างมีมาตรฐานภายใต้หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งเป็นหลักสูตรเดียวกันกับที่ท่าพระจันทร์ และศูนย์รังสิต การถ่ายทอดความรู้เป็นไปอย่างมีคุณภาพด้วยคณาจารย์ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญทางด้านกฎหมายในสาขาต่าง ๆ ทั้งที่ประจำอยู่ที่ท่าพระจันทร์ ศูนย์รังสิต และศูนย์ลำปาง 

ในปัจจุบัน (พ.ศ. 2564) คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง มีการบริหารจัดการภายใต้หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต (ปรับปรุงใหม่) พ.ศ. 2561 ซึ่งเป็นหลักสูตรที่สร้างความโดดเด่นให้แก่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง โดยกำหนดให้มี “สาขากฎหมายกับการพัฒนาที่ยั่งยืน (Law and Sustainable Development)” ซึ่งเป็นสาขากฎหมายใหม่และเปิดการเรียนการสอนเฉพาะที่คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง เท่านั้น  

ในสาขากฎหมายใหม่นี้ประกอบไปด้วยรายวิชาต่าง ๆ ทางด้านกฎหมายเกือบ 20 วิชา โดยมุ่งหวังที่จะสร้างนักกฎหมายที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาสังคมที่เกิดขึ้น มุ่งสร้างนักกฎหมายที่ตระหนักถึงความสำคัญของการดำรงชีวิตของคนในยุคปัจจุบันที่จะไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อนแก่คนรุ่นหลัง ทั้งด้านการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ที่มีอยู่จำกัดอย่างเห็นและตระหนักถึงคุณค่า การให้ความสำคัญแก่การรักษาสภาพเศรษฐกิจที่ดี ในขณะเดียวกันก็ไม่ทำลายเศรษฐกิจของประเทศอื่น และการรักษาไว้ซึ่งประโยชน์โดยส่วนใหญ่ของสังคม อีกทั้งรักษาไว้ซึ่งคุณภาพชีวิตของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ บนโลก ซึ่งหลักการนี้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาและการอยู่ร่วมกันบนโลกอย่างสันติสุขภายใต้การให้ความสำคัญโดยองค์การสหประชาชาติ (United Nation : UN) 

โครงสร้างหลักสูตรของหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตที่เปิดสอน ณ คณะนิติศาสตร์ ศูนย์ลำปาง เป็นหลักสูตรเดียวกันกับหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตที่เปิดสอน ณ คณะนิติศาสตร์ ศูนย์รังสิต อันประกอบด้วยการศึกษารายวิชารวมกันไม่น้อยกว่า 146 หน่วยกิต ใช้ระยะเวลาในการศึกษา 4 ปี  

คณะนิติศาสตร์ ศูนย์ลำปางรับนักศึกษาที่จบการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเข้าศึกษาประมาณปีละ 200 คนโดย โดยเปิดรับสมัคร 2 รอบดังต่อไปนี้  

  • รอบที่ 2 โควต้าพื้นที่ (ศูนย์ลำปาง) รับนักเรียน/นักศึกษาที่กำลังศึกษาอยู่ใน เขตพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ ได้แก่ จังหวัดลำปาง  พิษณุโลก นครสวรรค์ แพร่ เชียงราย น่าน อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ ตาก  ลำพูน เชียงใหม่ พะเยา แม่ฮ่องสอน กำแพงเพชร สุโขทัย พิจิตร และ อุทัยธานี และ  เขตพื้นที่ 20 จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์  ขอนแก่น ชัยภูมิ นครพนม นครราชสีมา บึงกาฬ  บุรีรัมย์  มหาสารคาม  มุกดาหาร  ยโสธร ร้อยเอ็ด เลย ศรีสะเกษ สกลนคร  สุรินทร์ หนองคาย หนองบัวลำภู อำนาจเจริญ  อุดรธานี และอุบลราชธานี 
  • รอบที่่ 3 Admissions แบ่งเป็น Admission 1 (สอบตรงนิติ มธ.) และ Admission 2 (Admission เดิม) นอกจากนี้การเรียนการสอนที่จัดโดยคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง ยังเน้นความผูกพัน ความใกล้ชิด และความอบอุ่นระหว่างคณาจารย์ประจำศูนย์ลำปางและนักศึกษาที่เข้ามาเรียนประมาณ 200 คนในแต่ละปี เน้นการใช้ชีวิตภายใต้สภาพแวดล้อมที่เป็นธรรมชาติ บรรยากาศร่มรื่น และปราศจากความเร่งรีบจากสภาพการจราจรที่แออัดในเมืองใหญ่ นักศึกษานิติศาสตร์ ศูนย์ลำปางทุกคนจะมีเวลาอย่างเพียงพอในการบริหารจัดการทั้งเรื่องการเรียน กิจกรรม และการพักผ่อนได้อย่างลงตัวโดยปราศจากความกังวลในเรื่องคุณภาพการศึกษาและโอกาสในการประกอบอาชีพซึ่งมีอยู่อย่างเท่าเทียมกันในทุกศูนย์การศึกษา 

หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต(ภาคบัณฑิต)

หลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตมีความมุ่งหมายจะผลิตบัณฑิตให้มีความรอบรู้กฎหมายทั้งในภาคทฤษฎีและในภาคปฏิบัติ ให้สามารถที่จะออกไปประกอบวิชาชีพทางกฎหมายแขนงต่าง ๆ ได้ โดยฝึกฝนให้นักศึกษาสามารถใช้วิชากฎหมายให้ถูกต้องแก่กรณี รู้จักใช้เหตุผล เข้าใจในตัวบทกฎหมาย ทั้งในการตีความและเจตนารมณ์ของกฎหมาย 

ด้วยความมุ่งหมายดังกล่าวมาแล้ว คณะนิติศาสตร์ได้วางหลักสูตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคม และความต้องการของสถาบันต่าง ๆ ทั้งของรัฐและเอกชน ซึ่งต้องอาศัยนักกฎหมาย เช่น ตุลาการ อัยการ ทนายความ พนักงานฝ่ายปกครอง ตำรวจ นิติกร ผู้สอนในสถานศึกษา หรืองานที่เกี่ยวข้องกับการบริการสาธารณะรวมทั้งงานของรัฐวิสาหกิจและเอกชนด้วย โดยบัณฑิตจะเป็นผู้มีความรู้ทั้งในกฎหมายพื้นฐานต่าง ๆ ที่มีความสำคัญและจำเป็น และจะเป็นผู้มีความรู้ความชำนาญในทางลึกหรือเฉพาะด้านในกฎหมายสาขาใดสาขาหนึ่งมากขึ้น ควบคู่ไปกับการมีความสามารถและทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษ สำหรับวิชาชีพกฎหมายเพิ่มขึ้นอีกด้วย 

นอกจากผลิตนักกฎหมายให้มีความรู้ความสามารถทางกฎหมายแล้ว นักกฎหมายยังจะต้องประพฤติตนอยู่ในกรอบ จรรยาบรรณ มีความหนักแน่น มั่นคง มีความสำนึกทางสังคม และรับผิดชอบในวิชาชีพนักกฎหมาย

หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต 

การจัดการศึกษาในหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิตมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษาสามารถศึกษา คิด ค้นคว้า วิเคราะห์ และวิจัยกฎหมายได้ด้วยตนเอง ปัจจุบันหลักสูตรนี้จึงได้รับการปรับปรุงเพื่อให้ได้มาตรฐานสากลทั้งโครงสร้างหลักสูตร เนื้อหาวิชา การเรียนการสอน และการวัดผล และยังเป็นหลักสูตรที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการของนักศึกษาซึ่งมีความแตกต่างกันในเป้าหมายของการเรียนและการประกอบอาชีพภายหลังสำเร็จการศึกษาแล้วที่จะเลือกเป็นนักกฎหมายที่มีความชำนาญทางกฎหมายเฉพาะด้านใดด้านหนึ่งในสาขาวิชาที่คณะนิติศาสตร์เปิดสอนต่อไปนี้ 8 สาขาวิชา ได้แก่ 

  1. กฎหมายเอกชน (Private Law)
  2. กฎหมายธุรกิจ (Business Law)
  3. กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
  4. กฎหมายอาญา (Criminal Law)
  5. กฎหมายมหาชน (Public Law)
  6. กฎหมายการค้าระหว่างประเทศ (International Trade Law)
  7. กฎหมายภาษี (Tax Law)
  8. กฎหมายสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources and Environmental Law)

หลักสูตรนี้แบ่งเป็น 2 แผนการศึกษา คือ แผน ก. เป็นการศึกษาวิชากฎหมาย 24 หน่วยกิต และวิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต และแผน ข. เป็นการศึกษาวิชากฎหมาย 33 หน่วยกิต และวิชาการศึกษาค้นคว้าอิสระ (Independent Research) 6 หน่วยกิต

การเข้าเรียนตามหลักสูตรนี้ ผู้สมัครต้องผ่านการสอบข้อเขียนวิชาหลักกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หลักกฎหมายอาญา หลักกฎหมายมหาชน หลักกฎหมายระหว่างประเทศ รวมถึงพิจารณาผลการทดสอบคะแนนภาษาอังกฤษ (TU-GET/TOEFL/IELTS) และการสอบสัมภาษณ์สำหรับผู้สอบผ่านข้อเขียน 

นอกจากการเรียนในชั้นเรียนแล้ว คณะนิติศาสตร์ยังสนับสนุนให้นักศึกษาในหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิตดูงานตามหน่วยงานหรือองค์กรต่าง ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศเพื่อเพิ่มพูนความรู้และประสบการณ์ของนักศึกษาผ่านทางประสบการณ์ของผู้ที่อยู่ในสายงานหรือภาคปฏิบัติ 

หลักสูตร International LL.B. Program in Business Law 

ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2556 คณะนิติศาสตร์ได้เปิดรับสมัครนักศึกษาเพื่อเข้าศึกษาในหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิต สาขากฎหมายธุรกิจ (ภาษาอังกฤษ) หรือที่เรียกว่า LL.B. Program in Business Law โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทำให้การสอนนิติศาสตร์ในระดับชาติไปสู่มาตรฐานสากล 

คณะนิติศาสตร์ได้เล็งเห็นถึงความจำเป็นในการเตรียมความพร้อมเพื่อผลิตนักกฎหมายเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันด้านวิชาชีพกับนักกฎหมายต่างชาติที่กำลังจะเข้ามาทำงานในประเทศไทย และจำต้องผลิตนิติศาสตรบัณฑิตที่มีความสามารถเพื่อเข้าไปแข่งขันในตลาดแรงงานด้านกฎหมายในประเทศอื่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน บัณฑิตเหล่านี้ควรมีความรู้ทั้งกฎหมายและวัฒนธรรมของประเทศที่ตนจะเข้าไปแข่งขันในตลาดแรงงาน จึงจำเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรนิติศาสตรบัณฑิตให้สามารถตอบสนองความต้องการดังกล่าว 

วัตถุประสงค์หนึ่งของหลักสูตรนี้คือการสร้างบัณฑิตให้สามารถรู้และใช้กฎหมายเป็นโดยมีจริยธรรม คุณธรรมและความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นผู้มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าคิดและกล้าแสดงออกอย่างมีเหตุผล มีความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายธุรกิจ และสามารถใช้ภาษาอังกฤษในการทำงานในวิชาชีพกฎหมายได้เป็นอย่างดี 

การศึกษาเป็นแบบระบบทวิภาคคือ 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษา และอาจเปิดภาคฤดูร้อน ระยะเวลาในการศึกษาตามหลักสูตรคืออ4 ปี 

คณะนิติศาสตร์เปิดรับผู้สนใจเข้าศึกษาในช่วงเดือนพฤศจิกายนของทุกปี ผู้สนใจสามารถสมัครเรียนผ่านทางเว็บไซต์ของคณะนิติศาสตร์หรือสมัครด้วยตนเอง และสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://interprograms.law.tu.ac.th/ หรือสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://www.facebook.com/tuinterllb/?ti=as 

หลักสูตร International LL.M. Program in Business Law 

หลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชากฎหมายธุรกิจ  (ภาคภาษาอังกฤษ) (Master of Laws Program in Business Laws) (English Program) มีเป้าหมายเพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความสามารถในการศึกษาวิจัย วิเคราะห์กฎหมายด้วยตนเอง มีความรู้และทักษะด้านกฎหมายธุรกิจและภาษาอังกฤษที่ได้มาตรฐานและอยู่ในระดับสากลเพื่อการประกอบวิชาชีพ เพื่อตอบสนองความต้องการของภาคธุรกิจและภาครัฐ หลักสูตรนี้ยังเป็นทางเลือกสำหรับผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรีด้านกฎหมายและประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาโทในหลักสูตรที่เปิดสอนเป็นภาษาอังกฤษ โดยไม่จำเป็นต้องเดินทางไปศึกษาต่อในต่างประเทศ เป็นการลดภาระค่าใช้จ่ายในการศึกษา และสามารถประกอบอาชีพได้ในขณะเดียวกัน เนื่องจากเป็นหลักสูตรการศึกษานอกเวลาราชการ

นอกจากนี้คณะนิติศาสตร์ยังมีความร่วมมือกับคณะนิติศาสตร์ของมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ เช่น มหาวิทยาลัยวิสคอนซิน สหรัฐอเมริกา, มหาวิทยาลัยไลเด้น ประเทศเนเธอร์แลนด์, มหาวิทยาลัยแรดบาวด์ ประเทศเนเธอร์แลนด์, มหาวิทยาลัยเคโอะ ประเทศญี่ปุ่น

คณะนิติศาสตร์คัดเลือกผู้สมัครโดยพิจารณาจากใบสมัครและเอกสารประกอบการสมัคร ประกอบด้วยผลการศึกษาในชั้นปริญญาตรี ผลการทดสอบคะแนนภาษาอังกฤษ (TU-GET/TOEFL/ELETS) และจดหมายแนะนำนักศึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ผู้สอนในระดับปริญญาตรี และผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้างาน หรืออาจร่วมด้วยการสอบสัมภาษณ์ จำนวนรับเข้าศึกษาปีละประมาณ 30 คน

หลักสูตรนิติศาสตรดุษฎีบัณฑิต

 

หลักสูตรปริญญาเอก นิติศาสตรดุษฎีบัณฑิตมีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถในเชิงวิชาการและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการประกอบอาชีพทางนิติศาสตร์ อันเป็นการรองรับแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาของชาติ และสอดคล้องกับปรัชญาของมหาวิยาลัยธรรมศาสตร์ในเรื่องความเป็นเลิศทางวิชาการ เพื่อผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาเอกสาขานิติศาสตร์ ที่มีความรู้ความสามารถและมาตรฐานทางวิชาการ

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารกระบวนการยุติธรรม 

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้พัฒนาหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารกระบวนการยุติธรรม เพื่อให้รองรับกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและประชาคมอาเซียนที่ทวีความสำคัญมากยิ่งขึ้น การส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการด้านการบริหารกระบวนการยุติธรรม เป็นการสร้างฐานในการผลักดันการพัฒนาระบบกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทยให้ทัดเทียมกับนานาประเทศที่มีความก้าวหน้าในเรื่องนี้เพื่อเสริมสร้างให้เกิดความเป็นธรรมในสังคมให้มากยิ่งขึ้น 

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกฎหมายมหาชน (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)

คณะนิติศาสตร์ได้จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกฎหมายมหาชนครั้งแรกเมื่อปีการศึกษา 2542 ครั้นถึงปี พ.ศ. 2546 ได้มีการแก้ไขปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับสถานการณ์บ้านเมืองที่เปลี่ยนแปลงไปเพื่อให้หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกฎหมายมหาชนมีเนื้อหาที่ทันสมัย และสามารถตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหาบ้านเมืองและความต้องการของผู้เรียนได้อย่างแท้จริง ต่อมาในปี พ.ศ. 2555 ได้มีการแก้ไขปรับปรุงหลักสูตรอีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ภายในและภายนอกประเทศซึ่งมีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในรอบทศวรรษที่ผ่านมา และเพื่อให้สอดคล้องกับมติคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) ซึ่งได้รับรองให้หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางกฎหมายมหาชนของคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหลักสูตรที่เทียบเท่ากับหลักสูตรการพัฒนานักกฎหมายภาครัฐ ระดับกลาง ซึ่งจัดโดยสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาและผู้สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรนี้สามารถใช้เป็นคุณสมบัติในการขอรับการคัดเลือกเพื่อรับเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษ ตำแหน่งนิติกร (พ.ต.ก.) ได้ และในปี พ.ศ. 2556 ได้มีการปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรในส่วนที่เกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาและทบทวนความเหมาะสมของเนื้อหาหลักสูตรตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการการอุดมศึกษาแห่งชาติอีกครั้งหนึ่ง

  • fdad small girl big dick
  • best penis pillsp how to make vietnamese viagra
  • focus on male urologys does the pill kill your libido
  • pill delay drugs how can i get viagra online
  • review top supplements how do you make your penis grow
  • top pills where to buy niterider male enhancement
  • premium libido enhancer how to build testosterone naturally
  • fdad medication to increase testosterone
  • top 10 alpha testosterone booster free trial
  • top 5 roman ro
  • buy best male pills fda testosterone enhancer side effects study
  • powerful drugs for men going limp during intercourse
  • delay drugs male enhancement nitridex
  • male drug guidee buying blue
  • powerful drugs for men erectile dysfunction supplement reviews
  • premium libido enhancer euphoric male enhancement pill for sale
  • 9 best how to have a huge penis
  • male pills how prevent premature ejaculation
  • premium libido enhancer .ed
  • focus on male prostate health wild willie review stay hard natural male enhancement
  • enhancement supplements vigrx exercises
  • 9 best do girls have a penis
  • best sex pills for men pennis enlargement pills review
  • delayed sex pills male enhancement pills that work fast gas station
  • libido enhancement does zinc increase ejaculate
  • male pills testosterone booster weight loss
  • pill delay drugs mental alertness supplement
  • top bigger penis pills drugs to make a woman horny
  • male pills chewable meaning
  • enhancement supplements enhance sexual stamina
  • top pills cialis 5 mg price
  • otc pills erectile dysfunction columbia mo
  • best sex pills for men pain in genital area male
  • 5 best vitamins to increase libido in men
  • delayed sex pills sex drug for women
  • drug guide birth control pills that increase libido
  • delay drugs ginseng penis
  • free trial multiple male cum
  • vigrx plus actual jelqing results
  • 2020 how to want sex
  • erectile dysfunction libido max cvs
  • sexual enhancement black magic supplements
  • delay drugs best retro sex
  • top 4 slow masturbation techniques
  • powerful drugs for men virilityex male enhancement
  • delayed sex pills can a man become a woman naturally
  • best sex pills for men rmx male enhancement pills reviews
  • 5 best how to use a penis sleeve
  • 5 best top ten penis pumps
  • otc pills grow your dick naturally
  • 2021 how to last longer in bed without coming
  • 10 best rhino max pills
  • top 10 build up sexual stamina
  • best male enhancement pills 100mg oral jelly male enhancement
  • 4 best the best long-lasting pills for men 2022
  • sex pills for men can you buy cialis at walmart
  • delay drugs flaccid penis extender
  • top 4 improve seminal fluid volume
  • best viagra pills how to overcome ed naturally
  • 2021 multiple ejaculation technique
  • male pills male 69
  • review top supplements tribulus work
  • pill delay drugs fantasies adult store male enhancement
  • review top supplements ultra sx pills
  • in the united sutates buy viagra online reviews
  • sex pills for men t drive testosterone booster
  • sex pills for men small size penis
  • delay drugs female libido pills at walmart
  • fda-approved viagra alternatives over the counter walgreens
  • viagra pills for men sperm boosters pills
  • viagra pills for men the teue about male enhancement pills
  • in 2022 increase ejaculate volume supplements
  • 2020 dick strecher
  • focus on male urologys granite male enhancement x700
  • best sex pills hornet extreme rub male enhancement
  • prolonging drugs the 10 best delay spray
  • top 10 good sex pron
  • top 10 male viagra in stores
  • which drug for erectile dysfunction how to make your peni bigger naturally free
  • how to how to make penis hard naturally
  • drug guide power plus delay spray
  • 2020 how to make your own homemade male enhancement
  • free trial hgf max
  • male drug guidee xzen male enhancement
  • in 2022 improving sex drive
  • how to webmd testosterone boosters
  • free trial does male enlargement pills really work
  • focus on male prostate health the best over-the-counter pills for sexual enhancement
  • top 4 how to elongate your penis
  • focus on male urologys penis jelqing device
  • otc pills fx48 solutions pills
  • 9 best best male enhancement pills 2019 in india
  • 5 best vitamin erectile dysfunction
  • enhancement supplements activatrol male enhancement
  • in the united sutates m patch male enhancement review
  • viagra pills for men legal erectile dysfunction pills
  • focus on male urologys increase your cum load
  • best sex pills what is a penis extension
  • focus on male prostate health erectile dysfunction fast acting over the counter pills walmart
  • which drug for erectile dysfunction supplements to increase sex drive in women